ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
 
  • นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
  •  
  • การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  •  
  • ค่าส่วนกลาง
  •  
  • ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
  •  
  • ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
  • อ่านทั้งหมด
    มุมของมีชัย ถาม-ตอบ กับมีชัย
     
         ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่ ส่งคำถาม
    คำสำคัญ
    ค้นหาใน
     
    เลือกประเภทคำถาม-ตอบ > การเมือง | กฏหมาย | เศรษฐกิจ | ทั่วไป | มรดก | แรงงาน | ท้องถิ่น | มหาวิทยาลัย | ราชการ | ครอบครัว | ล้มละลาย | ที่ดิน | ค้ำประกัน | 22128 ค้ำ | archanwell.org | ล้างมลทิน | 24687 | hhhhhhhhhhh | คำถามทั้งหมด ... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม

    ปิดหน้าต่างนี้
    คำถามที่ หัวข้อคำถามโดยวันที่
    039789 กฏหมายฟ้องมือที่ 3นายทองคำ3 เมษายน 2553

    คำถาม
    กฏหมายฟ้องมือที่ 3
    สามารถฟ้องเรียกร้องค่าเสียหายจากบุคคลที่3ที่ทำให้ครอบครัวแตกแยกไ

    ด้ไหม

    ขอเรียนถามองมีชัยผมกับภรรยาแต่งงานกันเป็นเวลา20ปีภรรยามีพี่สาวคนหนึ่งผมได้ให้ความอุปการะพี่สาวภรรยาโดยรับเข้าทำงานในบริษัทของผมและให้เงินเดือนเดือนละ30,000บาทพอบริษัทผมมีปัญหาด้าการเงินผมไม่สามารถอุปการะพี่สาวภรรยาต่อไปได้และการดูแลภรรยาก็ไม่ดีเหมือนเดิมทำให้ภรรยาผมต้องยืมเงินพี่สาวเขาและระยะหลังพี่สาวภรรยาผมก็หาผู้ชายคนใหม่ให้ภรรยาผมพร้อมเร่งรัดให้ภรรยาผมฟ้องหย่ากับผมเพื่อภรรยาผมจะได้ไปแต่งงานใหม่ขอถามว่าผมสามารถฟ้องเรียกร้องค่าเสียหายกับพี่สาวของภรรยาผมได้ไหมที่เป็นต้นเหตุให้ครอบครัวผมแตกแยก

    คำตอบ
    ถ้าคุณสามารถแสดงพยานหลักฐานให้เห็นได้ว่า ครอบครัวคุณเกิดการแตกแยก และการแตกแยกนั้นเป็นผลจากการกระทำของพี่เมีย ก็ฟ้องเรียกค่าเสียหายได้
    มีชัย ฤชุพันธุ์

    เรียนอ.มีชัย

    จากคำถามข้าบนขอขอบคุณที่ท่านกรุณาตอบขณะนี้ผมกำลังเก็บรวบรวมเอกสารที่จะยื่นฟ้องต่อศาลคับแต่ขอรบกวนอ.มีชัยอีกครั้งครับกฏหมายที่ใช้ฟ้องเป็นกฏหมายมาตราไรครับผมจะไดศึกษารายละเอียดเพื่อหาหลักฐานในตรงกับกฏหมายครับ

    ขอบคุณครับ

    คำตอบ
    ดูประมวลกฎหมายแพ่งมาตรา ๔๒๐ และมาตรา ๔๒๓
    มีชัย ฤชุพันธุ์
    3 เมษายน 2553