ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
 
  • นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
  •  
  • การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  •  
  • ค่าส่วนกลาง
  •  
  • ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
  •  
  • ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
  • อ่านทั้งหมด
    มุมของมีชัย ถาม-ตอบ กับมีชัย
     
         ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่ ส่งคำถาม
    คำสำคัญ
    ค้นหาใน
     
    เลือกประเภทคำถาม-ตอบ > การเมือง | กฏหมาย | เศรษฐกิจ | ทั่วไป | มรดก | แรงงาน | ท้องถิ่น | มหาวิทยาลัย | ราชการ | ครอบครัว | ล้มละลาย | ที่ดิน | ค้ำประกัน | 22128 ค้ำ | archanwell.org | ล้างมลทิน | 24687 | hhhhhhhhhhh | คำถามทั้งหมด ... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม

    ปิดหน้าต่างนี้
    คำถามที่ หัวข้อคำถามโดยวันที่
    032716 การทำพินัยกรรมมาย24 ธันวาคม 2551

    คำถาม
    การทำพินัยกรรม

    เรียน  อาจารย์  ด้วยความเคารพ

    อยากทราบว่าหลักการทำพินัยกรรมต้องทำอย่างไรบ้าง  และมีเอกสารอะไรอย่างไร  ต้องทำกับทนายความไหม   เอกสารเป็นอย่างไร  มีอะไรบ้าง

    ขอบคุณค่ะ

    คำตอบ

    เรียน คุณมาย

       การทำพินัยกรรมทำได้ ๓ ทาง คือ ทำด้วยตนเอง คือเขียนพินัยกรรมทั้งหมดด้วยลายมือของตนเองแล้วลงลายมือชื่อ โดยไม่จำเป็นต้องมีพยาน  อีกทางหนึ่งคือ ให้คนที่มีความรู้ เช่นทนายความเขาทำให้ ในกรณีนั้นก็ต้องมีพยานอย่างน้อย ๒ คน ทางที่สาม คือทำเป็นพินัยกรรมฝ่ายเมือง คือไปที่อำเภอให้นายอำเภอทำให้ อาจเสียค่าธรรมเนียมนิดหน่อย วิธีเป็นวิธีที่ถูกเงินที่สุด เวลาไปทำก็ไม่มีอะไรมาก ถ้าจะยกทรัพย์สินอะไรให้ใคร หากทรัพย์สินนั้นมีทะเบียน ก็นำสำเนาไปให้เขาดู เขาจะได้ระบุได้ถูกต้อง


    มีชัย ฤชุพันธุ์
    24 ธันวาคม 2551