ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
 
  • นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
  •  
  • การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  •  
  • ค่าส่วนกลาง
  •  
  • ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
  •  
  • ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
  • อ่านทั้งหมด
    มุมของมีชัย ถาม-ตอบ กับมีชัย
     
         ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่ ส่งคำถาม
    คำสำคัญ
    ค้นหาใน
     
    เลือกประเภทคำถาม-ตอบ > การเมือง | กฏหมาย | เศรษฐกิจ | ทั่วไป | มรดก | แรงงาน | ท้องถิ่น | มหาวิทยาลัย | ราชการ | ครอบครัว | ล้มละลาย | ที่ดิน | ค้ำประกัน | 22128 ค้ำ | archanwell.org | ล้างมลทิน | 24687 | hhhhhhhhhhh | คำถามทั้งหมด ... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม

    ปิดหน้าต่างนี้
    คำถามที่ หัวข้อคำถามโดยวันที่
    017567 การตีความกฏหมายด้วยมติเสียงข้างมากครูแก่7 กรกฎาคม 2549

    คำถาม
    การตีความกฏหมายด้วยมติเสียงข้างมาก

    เรียนท่านมีชัย

           กระผมมีความสงสัยในเรื่องการวินิจฉัยข้อกฏหมายที่ใช้การลงมติตัดสินด้วยเสียงข้างมาก ว่าจะเป็นวิธีการที่ถูกต้องหรือไม่ เพราะแสดงให้เห็นว่าข้อกฏหมายเขียนไม่ชัดเจน สามารถวินิจฉัยได้ในลักษณะที่ตรงกันข้ามเสมอ ซึ่งจะทำให้ถูกเป็นผิด และผิดเป็นถูกได้เสมอ ขึ้นกับมุมมองของมติส่วนใหญ่ ที่ใช้ความคิดตนเองมอง ไม่ใช้ตัวบัญญัติของกฏหมาย เช่นกฏหมายรัฐธรรมนูญ

    ซึ่งกระผมเห็นว่าข้อกฏหมายควรที่จะมองเห็นเหมือนกันไม่ว่าจะมองในแง่ใดก็ตาม ซึ่งผลควารออกมาเป็นมติ 100 เปอร์เซนต์

    คำตอบ

    เรียน ครูแก่

         ความเห็นทางกฎหมายนั้นย่อมแตกต่างกันได้เสมอ เมื่อถึงคราวจำเป็นจะต้องการการยุติ ก็ต้องใช้ลงความเห็นกัน เมื่อความเห็นไปในทางใดมากกว่าก็ต้องยอมยุติไปตามนั้น ส่วนในทางวิชาการก็ยังสามารถถกเถียงกันได้อยู่เสมอ 

     

     


    มีชัย ฤชุพันธุ์
    7 กรกฎาคม 2549