ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
 
  • นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
  •  
  • การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  •  
  • ค่าส่วนกลาง
  •  
  • ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
  •  
  • ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
  • อ่านทั้งหมด
    มุมของมีชัย ถาม-ตอบ กับมีชัย
     
         ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่ ส่งคำถาม
    คำสำคัญ
    ค้นหาใน
     
    เลือกประเภทคำถาม-ตอบ > การเมือง | กฏหมาย | เศรษฐกิจ | ทั่วไป | มรดก | แรงงาน | ท้องถิ่น | มหาวิทยาลัย | ราชการ | ครอบครัว | ล้มละลาย | ที่ดิน | ค้ำประกัน | 22128 ค้ำ | archanwell.org | ล้างมลทิน | 24687 | hhhhhhhhhhh | คำถามทั้งหมด ... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม

    ปิดหน้าต่างนี้
    คำถามที่ หัวข้อคำถามโดยวันที่
    012040 ถามต่อจาก ask00269ประวิทย์28 กันยายน 2547

    คำถาม
    ถามต่อจาก ask00269
    เรียนถามอาจารย์มีชัย ผมได้อ่านที่อาจารย์ตอบแล้ว (ask00269) ก็เลยสงสัยว่า จริงๆแล้ว กฤษฎีกาเขาตีความเรื่องนี้อย่างไรครับ เพราะผมทำธุรกิจเกี่ยวกับนำเข้าส่งออกก็มีความกลัวเหมือนกันครับ และที่อาจารย์บอกว่า คำวินิจฉัยของกฤษฎีกา ไม่ใช่เป็นกฎหมาย เป็นเพียงความเห็นทางกฎหมายที่ผูกพันส่วนราชการในระดับหนึ่ง หมายความว่าถ้าหน่วยงานนั้นไม่ทำตามก็ไม่เป็นไรใช่ไหมครับ ขอบคุณครับ ประวิทย์
    คำตอบ
    เรียน คุณประวิทย์ ถ้าจำไม่ผิด เขาตีความว่า การผิดมูลฐานเกี่ยวกับภาษีศุลกากรนั้น ต้องเป็นกรณีการลักลอบนำเข้า ซึ่งไม่รวมถึงการเสียภาษีไม่ครบถ้วน เมื่อกฤษฎีกาให้ความเห็นแล้ว หน่วยงานอาจไม่ปฏิบัติตามก็ได้ ด้วยความรับผิดชอบของตนเอง ถ้าเกิดเสียหายอย่างไร ก็จะไม่มีข้อแก้ตัว แต่ถ้าทำตามคำวินิจฉัยของกฤษฎีกา หากเกิดเสียหายอย่างไร ก็ยังพอแก้ตัวได้ มีชัย ฤชุพันธุ์ 24 ก.ย. 2547
    มีชัย ฤชุพันธุ์
    28 กันยายน 2547