ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
ค่าส่วนกลาง
ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
อ่านทั้งหมด
มุมของมีชัย
ถาม-ตอบ กับมีชัย
ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่
ส่งคำถาม
คำสำคัญ
ค้นหาใน
หัวข้อ & เนื้อหาคำถาม
ผู้ส่งคำถาม
เลือกประเภทคำถาม-ตอบ
>
การเมือง
|
กฏหมาย
|
เศรษฐกิจ
|
ทั่วไป
|
มรดก
|
แรงงาน
|
ท้องถิ่น
|
มหาวิทยาลัย
|
ราชการ
|
ครอบครัว
|
ล้มละลาย
|
ที่ดิน
|
ค้ำประกัน
|
22128 ค้ำ
|
archanwell.org
|
ล้างมลทิน
|
24687
|
hhhhhhhhhhh
|
คำถามทั้งหมด
... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม
ปิดหน้าต่างนี้
คำถามที่
หัวข้อคำถาม
โดย
วันที่
046423
คำถามที่ 046420
นักเขียน
6 มีนาคม 2555
คำถาม
คำถามที่ 046420
ขอบคุณอาจารย์ที่ท่านตอบได้รวดเร็วทันใจ คำถามของผมว่าลำดับชั้นของกฎหมายไทยแบ่งเป็น 7 ขั้น ถูกต้องแล้วใช่ไหมครับ หรืออาจารย์จะแนะนำอย่างไรผมขอน้อมรับ ขอบพระคุณครับ
คำตอบ
ถ้าจะอธิบายให้ชาวบ้านฟังให้รู้พอเป็นเลา ๆ ก็คงพอได้ แต่ในทางกฎหมาย พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด ล้วนมีลำดับเดียวกัน เพียงแต่มีรูปแบบในการตราที่แตกต่างกัน ส่วนพระราชกฤษฎีกา และกฎกระทรวง รวมทั้ง กฎ ข้อบังคับ หรือประกาศ เป็นอนุบัญญัติ ที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายอีกต่อหนึ่ง ส่วนเทศบัญญัติ และข้อบัญญัติของท้องถิ่น จะเรียกว่าเป็นกฎหมายท้องถิ่นก็ได้ เป็นกฎกติกาที่ใช้สำหรับแต่ละท้องถิ่น
มีชัย ฤชุพันธุ์
6 มีนาคม 2555