ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
 
  • นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
  •  
  • การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  •  
  • ค่าส่วนกลาง
  •  
  • ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
  •  
  • ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
  • อ่านทั้งหมด
    มุมของมีชัย ถาม-ตอบ กับมีชัย
     
         ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่ ส่งคำถาม
    คำสำคัญ
    ค้นหาใน
     
    เลือกประเภทคำถาม-ตอบ > การเมือง | กฏหมาย | เศรษฐกิจ | ทั่วไป | มรดก | แรงงาน | ท้องถิ่น | มหาวิทยาลัย | ราชการ | ครอบครัว | ล้มละลาย | ที่ดิน | ค้ำประกัน | 22128 ค้ำ | archanwell.org | ล้างมลทิน | 24687 | hhhhhhhhhhh | คำถามทั้งหมด ... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม

    ปิดหน้าต่างนี้
    คำถามที่ หัวข้อคำถามโดยวันที่
    042934 เจตนารมณ์ของการพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ.2553ลออ9 ธันวาคม 2553

    คำถาม
    เจตนารมณ์ของการพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ.2553

    สวัสดีค่ะ ท่านอาจารย์มีชัย

    ดิฉันมีเรื่องรบกวนเรียนถาม กรณีการร่าง พระราชทานอภัยโทษ พ.ศ.2553 เจตนารมย์คืออะไร เนื่องจากตามมาตรา 6 (ข)  นั้น  ได้กำหนดให้คนที่ป่วยเป็นโรคจิตมีแพทย์สองคนลงชื่อรับรอง เป็นเอกฉันท์ว่าไม่สามารถรักษาให้หายขาดในเรือนจำได้

    นักโทษโรคจิตดังกล่าวได้รับพระราชทานอภัยโทษจาก 6 ปี เป็น 5 ปี 6 เดือน  แล้วได้มีหนังสือเพื่อให้ปล่อยตัวเนื่องจากเข้าตามกฎหมายดังกล่าวข้างต้น แต่เจ้าหน้าที่อ้างว่านักโทษได้รับพระราชทานอภัยโทษแล้วจึงไม่ได้รับการปล่อยตัวเพื่อให้รักษาตัว ตามมาตรา 6(ข) อีก

    จึงอยากทราบเจตนารมย์ของผู้ร่างกฎหมายว่ามาตราดังกล่าวด้วยค่ะ กราบขอบพระคุณค่ะ 

    คำตอบ
    ถ้ามีหนังสือให้ปล่อยตัวแล้ว เจ้าหน้าที่ก็ไม่มีสิทธิอ้างอะไรได้อีก ลองตรวจสอบดูให้ดี ถ้ามีหนังสือปล่อยตัวจริง ก็ควรไปร้องต่อศาลเพื่อให้ศาลสั่งปล่อย
    มีชัย ฤชุพันธุ์
    9 ธันวาคม 2553