ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
 
  • นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
  •  
  • การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  •  
  • ค่าส่วนกลาง
  •  
  • ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
  •  
  • ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
  • อ่านทั้งหมด
    มุมของมีชัย ถาม-ตอบ กับมีชัย
     
         ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่ ส่งคำถาม
    คำสำคัญ
    ค้นหาใน
     
    เลือกประเภทคำถาม-ตอบ > การเมือง | กฏหมาย | เศรษฐกิจ | ทั่วไป | มรดก | แรงงาน | ท้องถิ่น | มหาวิทยาลัย | ราชการ | ครอบครัว | ล้มละลาย | ที่ดิน | ค้ำประกัน | 22128 ค้ำ | archanwell.org | ล้างมลทิน | 24687 | hhhhhhhhhhh | คำถามทั้งหมด ... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม

    ปิดหน้าต่างนี้
    คำถามที่ หัวข้อคำถามโดยวันที่
    046347 ถนนหมู่บ้านผู้จัดการ25 กุมภาพันธ์ 2555

    คำถาม
    ถนนหมู่บ้าน

    ดิฉัน  ทำบ้านจัดสรรขายเมื่อประมาณ 24 ปี  ที่แล้วในนาม ห.จ.ก.  เมือลูกค้าเริ่มเข้าอยู่ดิฉันได้นำป้าย  ถนนส่วนบุคคลมาติดไว้จนถึง  ปัจจุบัน    เมื่อประมาณเดือน ตุลาปี 53  มีลูกค้าที่ซื้อบ้านหลังแรก  ได้ขายบ้านไป  ผู้ซื้อรายใหม่  ได้เปิดรั้วเพื่อทำทางเข้าออกเชื่อมกับถนนส่วนบุคคลของห้าง ฯ เพิ่มอีกด้านหนึ่ง ทำเป็นศูนย์จำหน่ายนม โดยไม่ได้ขออนุญาต  ( ซึ่งดิฉันเคยแจ้งให้เค้าทราบแล้วว่าให้เปิดรั้วด้านหลัง ซึ่งเป็นทางสาธรณะ เพราะถ้าใช้ถนนด้านหน้าต้องมีปัญญาแน่นอน  ลูกค้าส่วนใหญ่ต้องเดือดร้อน)   เมื่อทำเสร็จก็เปิดเป็นศูนย์จำหน่ายนม   มีรถบรรทุกมาส่งนมเวลา  ตี 4 ถึง 6 โมงเช้า  จะส่งเสียงดัง  มีสุนัข เห่า  ทำให้ลูกค้าในหมู่บ้านมาร้องเรียนหลายราย  ดิฉันได้ทำหนังสือตักเตือน ก็แล้ว  ไม่ให้ใช้ถนนในหมู่บ้านเพื่อค้าขาย  เพราะเราทำบ้านขายเป็นบ้านเพื่ออยู่อาศัยเท่านั้น  และถนนก็เป็นถนนส่วนบุคคล  ไม่ใช่ถนนสาธารณะ  สุดท้ายดิฉันได้ก่อบล็อกปิดทางเข้าออกที่เค้าทำเป็นศูนย์นม   แต่การสร้างรั้วอยู่บนแนวเขตของถนนส่วนบุคคลมิได้ทำเกินเข้าไปในเขตทึ่ดินของเค้า  เค้าได้ฟ้องห้าง ฯ และดิฉันว่าระเมิดภาระจำยอม อยากเรียนถามอาจารย์ว่าดิฉันจะแพ้คดีเค้าหรือเปล่าคะ

    คำตอบ
    การแพ้หรือชนะคดีในศาล ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ตั้งแต่ข้อกฎหมาย ข้อเท็จจริง พยานหลักฐานที่ใช้ในการพิสูจน์ต่อศาล และความเอาใจใส่และฝีมือของทนายความ จึงเดาให้ไม่ได้ว่าคุณจะแพ้หรือชนะ
    มีชัย ฤชุพันธุ์
    25 กุมภาพันธ์ 2555